แมลงตัวห้ำ (Insect Predators) คือ แมลงชนิดที่จับแมลงอื่นกินเป็นอาหาร แมลงที่ถูกแมลงตัวห้ำกินจะเรียกว่า เหยื่อ (prey) โดยการกินเหยื่อของแมลงตัวห้ำนั้นจะมีพฤติกรรมการจับแล้วใช้ปากกัดกินเหยื่อโดยตรง หรือแมลงบางชนิดใช้ปากแบบเฉพาะดูดกินของเหลวในตัวเหยื่อจนหมดทั้งตัว และต้องกินเหยื่อหลายตัวเพื่อการดำรงชีวิตจนครบวงจรชีวิต แมลงตัวห้ำบางชนิดมีพฤติกรรมเป็นตัวห้ำได้ทั้งในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย เช่น แมลงปอ (dragonfly and damselfly) ตั๊กแตนตำข้าว (Mantis) ด้วงเต่าลายตัวห้ำ (ladybird beetle) เป็นต้น บางชนิดมีพฤติกรรมการเป็นตัวห้ำเฉพาะบางช่วงอายุเท่านั้น เช่น แมลงช้างปีกใส (lacewing) แม
เนื่องในวันที่ 16 กรกฎาคม ของทุกปี เป็นวันงูโลก วันนี้ Nat.ชัย ผู้เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ของ อพวช. จะพาทุกคนมารู้จักกับงู สามัญประจำบ้านอย่าง งูเขียวพระอินทร์
: 50 ปีที่ผ่านมาเราได้เริ่มทำอะไรให้สิ่งแวดล้อมบนโลกใบนี้แล้วหรือยัง ?
Sexual dimorphism หมายถึง ภาวะที่สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีลักษณะที่แตกต่างกันทั้งสี รูปร่าง ขนาด และโครงสร้างบางประการ เช่น นกปักษาสวรรค์ (Bird of paradise) เพศผู้มีสีสันฉูดฉาดเพื่อดึงดูดเพศเมีย ลิงบาบูนเพศผู้ตัวโตกว่าเพศเมียประมาณ 2 เท่า และมีเขี้ยวขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย ซึ่งจูงใจให้เพศเมียเลือกเป็นคู่ครอง ปลาตกเบ็ด (Angler fish) เพศผู้มีขนาดเล็กกว่าเพศเมียประมาณ 40 เท่า และไม่มีติ่งเนื้อบนหัว ดำรงชีวิตเป็นปรสิตถาวรของเพศเมีย ครีบหลังของปลา Paracentropogon rubripinnis เพศผู้ยาวกว่าปลาเพศเมีย
Junior Naturalist (สำหรับเด็กอายุ 7-13 ปี) 10 มิ.ย. 2566 ณ NSM คลองห้า ปทุมธานี องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) เปิดรับสมัครกิจกรรมนักธรรมชาติรุ่นเยาว์ (Junior Naturalist)
วันผึ้งโลก (World Bee Day) ถูกจัดขึ้นทั่วโลกในวันที่ 20 พฤษภาคมของทุกปี โดยแต่ละประเทศจะจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับความสำคัญของผึ้งและการเลี้ยงผึ้ง