ศศลักษณ์ มูลรินต๊ะ กองวิชาการวิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.)
หากกล่าวถึงวิทยาศาสตร์ คนทั่วไปคงนึกภาพนักวิทยาศาสตร์กำลังทำการทดลองเกี่ยวกับสารเคมีอะไรบางอย่างอยู่ ซึ่งเป็นการหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่าการทดลองทางวิทยาศาสตร์ใดๆก็ตามย่อมมีความเกี่ยวข้องกับสารเคมีไม่ทางตรงก็ทางอ้อมอยู่แล้ว ความจริงแล้วมนุษย์อยู่กับสารเคมีมาตั้งแต่เกิดจนตายเพราะสารเคมีนั้นอยู่รอบตัวซึ่งมีทั้งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือผ่านการสังเคราะห์ขึ้นมา
“มาม๊ะ ๆ !! ขอกอดหน่อย” เคยสังเกตตัวเองกันไหมว่า ไม่ว่าเราจะอารมณ์เสีย มาจากที่ไหนก็ตาม เราจะเริ่มสงบและ ใจเย็นขึ้นหรือเมื่อใช้เวลาสักพักไปกับการนั่งคุย ลูบ หรือนั่งดูสัตว์เลี้ยงของเรา นั่นแหล่ะ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือโรคโควิด-19 (COVID-19) กำลังแพร่ระบาดเป็นวงกว้างไปทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย หลายคนกำลังวิตกว่าต้องใช้ชีวิตอย่างไร
แปลและรียบเรียงโดย อานุภาพ สกุลงาม กองวิชาการวิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) จาก ‘Storyteching’ – how museums can use technology to tell their stories เขียนโดย Rebecca Carlsson จาก www.museumnext.com
ในอดีตทรัพยากรน้ำจัดเป็นสินค้าไร้ราคา (Free-goods) ไม่มีต้นทุนในทางเศรษฐศาสตร์ แต่ปัจจุบันนี้ น้ำกำลังกลายเป็นทรัพยากรที่อาจขาดแคลนในอนาคต เพราะหลายประเทศเสี่ยงภัยแล้ง และประชากรโลกเพิ่มขึ้นทบเท่าทวี จะจัดการอย่างไรให้มีน้ำเพียงพอแก่ทุกภาคส่วน และดำเนินไปอย่างยั่งยืน?