ช่วงหน้าฝนปลายเดือนกันยายนปี 2562 ผู้เขียนได้รับโอกาสในการเข้าร่วมจัดกิจกรรม “นักธรรมชาติวิทยารุ่นเยาว์” โดยพิพิธภัณธ์ธรรมชาติวิทยา องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ เด็กๆนักธรรมชาติวิทยารุ่นเยาว์และนักธรรมชาติวิทยารุ่นพี่ร่วมสำรวจสิ่งมีชีวิต ณ ทุ่งนาข้าว
สาหร่าย หรือ Algae (เอกพจน์ Alga) หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่มีคลอโรฟิลล์เป็นองค์ประกอบ ไม่มีราก ลำต้น หรือใบที่แท้จริง มีขนาดตั้งแต่เล็กมากประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียวที่เรียกกันว่า สาหร่ายขนาดเล็ก หรือ ไมโครแอลจี หรือแพลงก์ตอนพืช (Microalgae หรือ Phytoplankton) ไปจนถึงขนาดใหญ่ที่เรียกว่า สาหร่ายขนาดใหญ่ หรือแมโครแอลจี (Macroalgae) ที่ประกอบขึ้นจากเซลล์จำนวนมาก
ดินขุยไผ่ เป็นดินที่นิยมนำมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตรกันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ และการปลูกผัก เพราะดินขุยไผ่มีลักษณะร่วน มีอินทรียวัตถุสูง
นักวิจัยเตือนสัญญาณอันตรายจากหิมะที่ละลายอย่างต่อเนื่องในที่ราบหิมาลัย-ทิเบต ส่งผลต่อการขยายตัวของแพลงก์ตอนน็อกติลูกา (Noctiloca) และอุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทรร้อนขึ้น
เนื่องจากสถานการณ์ในปัจจุบัน ทำให้หลาย ๆ คน ต้องปรับตัวและยอมรับกับการใช้ชีวิตในรูปแบบใหม่ (New normal) และทำให้เทคโนโลยีหนึ่งถูกพูดถึงเป็นอย่างมาก เพราะไม่ว่าเราจะเดินทางไปที่ไหน ไปทำอะไร เราก็จะพบกับสัญลักษณ์ที่มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัสตุรัส มีจุดสีดำอยู่ภายใน คล้ายกับเกมเขาวงกต อยู่ในทุก ๆ ที่ แต่แท้จริงแล้วเทคโนโลยีนี้ ถูกคิดค้นและใช้งานในด้านต่าง ๆ มานานแล้ว แต่น้อยคนที่จะรู้จัก นั่นก็คือ เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code)
โรคพยาธิยังคงเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขของไทย เนื่องจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น การบริโภคอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ โดยเฉพาะผู้คนในแถบภาคอีสานที่มักจะใช้เนื้อ หรือเลือดวัวดิบประกอบอาหาร รวมถึงการรับประทานผักและผลไม้สด โดยไม่ล้างทำความสะอาด ซึ่งนอกจากจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคอาหารเป็นพิษแล้ว ยังอาจทำให้ร่างกายของเราติดพยาธิได้อีกด้วย