เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2565 ในประเทศญี่ปุ่นมีรายงานการตรวจพบสารพิษที่ชื่อว่า “ไกลโคแอลคาลอยด์” (Glycoalkaloid) เกินปริมาณที่มาตรฐานกำหนดในมันฝรั่งแผ่นทอดกรอบ ทำให้มีการเรียกคืนสินค้าลอตที่มีปัญหาดังกล่าวทันที สารพิษดังกล่าวเป็นสารพิษธรรมชาติที่อยู่ในพืช เช่น มันฝรั่ง มะเขือเทศ มะเขือม่วง และพริก
จากการศึกษาตั้งแต่เริ่มมีการระบาดใหญ่ของโรคโควิด 19 พบว่า สุกรสามารถติดเชื้อไวรัสได้หากได้รับเชื้อในปริมาณมาก แต่การติดเชื้อนั้นจะหายได้เองและสุกรจะไม่แสดงอาการของโรค รวมถึงไม่แพร่เชื้อไวรัสไปยังสัตว์อื่น ๆ ล่าสุด
ในเทศกาล การเฉลิมฉลอง หรือ แม้การแต่งหน้า อาจต้องการความวิบวับอย่างกากเพรชมาช่วยสร้างบรรยากาศ และความแวววาวสะท้อนแสง กากเพชรส่วนใหญ่ผลิตด้วยการเคลือบอะลูมิเนียมบนแผ่นพลาสติกบาง ๆ แล้วตัดเป็นชิ้นเล็ก ๆ ข้อเสียของกากเพรชเหล่านี้
ทีมวิจัยด้านชีวการแพทย์ประเทศออสเตรเลียเผยแพร่งานวิจัยการศึกษายาพ่นจมูกเพื่อป้องกันโควิด-19 โดยความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น (University of Melbourne) มหาวิทยาลัยโมนาช (Monash University) และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford) ร่วมกับหน่วยงานสาธารณสุขนอร์ทเทิร์น เฮลท์ (Northern Health) ของเมลเบิร์น สถาบันพีเทอร์ โดเฮอร์ตี (Peter Doherty Institute) สถาบันวิจัยเด็กเมอร์ด็อก (Murdoch Children's Research Institute) และองค์กรวิจัยวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมเครือจักรภพ (CSIRO)
การปลูกถ่ายอวัยวะ (Organ Transplantation) เป็นหนึ่งในความหวังการบรรเทาความเจ็บป่วยของผู้ที่มีภาวะผิดปกติที่อวัยวะสำคัญในร่างกาย แต่จำนวนของผู้บริจาคอวัยวะสำหรับปลูกถ่ายกลับไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ที่รอรับบริจาคอวัยวะ นักวิทยาศาสตร์จึงได้วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อเติมเต็มความต้องการอวัยวะ ต่อลมหายใจให้ผู้ป่วยนับล้านคนทั่วโลก
Australopithecus afarensis เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์ของบรรพบุรุษรุ่นแรก ๆ ของมนุษย์ซึ่งมีชีวิตอยู่เมื่อ 3 ล้านกว่าปีก่อน ซึ่งเรารู้จักกันในชื่อ ป้าลูซี่ (Lucy) โดยมีการขุดพบฟอสซิลในประเทศเอธิโอเปีย เมื่อปี พ.ศ. 2517