ทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล (Seoul National University) ประเทศเกาหลีใต้ พัฒนาหุ่นยนต์กิ้งก่าคาเมเลียน (Chameleon) ที่สามารถเปลี่ยนสีได้ตามสภาพแวดล้อมที่เคลื่อนที่ผ่านได้สำเร็จ และนี่อาจเป็นจุดกำเนิดของเทคโนโลยีสุดท้าทายซึ่งช่วยให้มนุษย์พรางตัวได้อย่างแนบเนียนไปกับสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับกิ้งก่าที่เปลี่ยนสีได้
ศุกร์ที่ 19 พฤศจิกายน 2564 คณะผู้ควบคุมกฎระเบียบ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ประกาศขยายสิทธิ์ในการฉีดวัคซีนโควิด 19 เข็มกระตุ้น ให้แก่ประชากรวัยผู้ใหญ่ทุกคน ทำให้ชาวอเมริกันอีกหลายล้านคนได้รับภูมิคุ้มกันเพิ่มเติมสำหรับต่อต้านไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ท่ามกลางยอดผู้ติดเชื้อที่เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้
26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 องค์การอนามัยโลก (World Health Organization หรือ WHO) ได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 กลายพันธุ์ โอไมครอน (Omicron) ซึ่งถูกจัดให้อยู่ในระดับน่าวิตกกังวล (Variant of Concern : VOC) เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 สายพันธุ์แอลฟา (Alpha) เบตา (Beta) แกมมา (Gamma) และเดลตา (Delta)
เช่นเดียวกันกับสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำทั่วไป กบมีรูปแบบการหายใจที่หลากหลายทั้งด้วยเหงือก ปอด ผิวหนัง แตกต่างไปตามช่วงอายุ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันใช้แนวคิดนี้ในการคิดค้นวิธีเพิ่มประสิทธิภาพการหายใจของลูกอ๊อดโดยการนำสาหร่ายเข้าสู่กระแสเลือดเพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจน
เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 ที่ผ่านมา มีการประกาศชื่อผู้ได้รับรางวัลโนเบิลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2564 ให้แก่ นักวิทยาศาสตร์ 3 คน โดยรางวัลครึ่งหนึ่งมอบให้กับ เคลาส์ ฮาเซลมาน (Klaus Hasselmann) และ ซูคุโร มานาเบ (Syukuro Manabe) จากผลงานวิจัยด้านภูมิอากาศ และรางวัลอีกครึ่งหนึ่งมอบให้กับ จอจิโอ ปารีซิ (Giorgio Parisi) จากผลงานวิจัยวัสดุไม่เป็นระเบียบ และกระบวนการสุ่ม
ต้นเดือนกันยายน พ.ศ. 2564 องค์การอนามัยโลก (World Health Organization หรือ WHO) ได้ประกาศเตือนหน่วยงานสาธารณสุขทั่วโลกเกี่ยวกับไวรัสโคโรนา 2019 กลายพันธุ์ สายพันธุ์มิว ซึ่งถูกจัดให้อยู่ในระดับจับตามอง (Variants of Interest หรือ VOI) ที่หน่วยงานด้านสาธารณสุขทั่วโลกควรให้ความสนใจเช่นเดียวกับสายพันธุ์อีตา (Eta), ไอโอตา (Iota), แคปปา (Kappa) และแลมป์ดา (Lambda)