สำรวจเอเลี่ยนสปีชีส์ พืชต่างถิ่นผู้รุกราน กับ Nat. ปุ้น วิสุทธิ์
ณ พิพิธภัณฑ์พระรามเก้า อพวช. คลองห้า ปทุมธานี
endocannibalism เป็นพฤติกรรมการกินเนื้อหรืออวัยวะบางอย่างของมนุษย์ภายในกลุ่ม
Troglomorphy ลักษณะการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตเพื่อเข้าอาศัยในพื้นที่ถ้ำ
อธิบายศัพท์
“แก้มช้ำช้ำใครต้อง อันแก้มน้องช้ำเพราะชม
ปลาทุกทุกข์อกกรม เหมือนทุกข์พี่ที่จากนาง”
ขึ้นต้นมาก็งงกันเลย พี่แนทไปโดนตัวไหนมาหว่า หรือวิญญาณบรรพบุรุษเข้าสิงเลยร่ายโครงกลอนซะงั้น
น้ำเสียชุมชน คือ น้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมประจำวันของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน และจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นการประกอบอาชีพ เช่น น้ำเสียที่เกิดจากการประกอบอาหาร
“Kleptoparasitism” เป็นลักษณะการอยู่ร่วมกันแบบที่สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ปรสิต (parasite) ขโมยอาหารมาจากผู้ล่าชนิดอื่น (host) ที่ล่ามาได้ หรือขโมยอาหารที่ผู้ล่าอื่นเก็บสะสมไว้ เช่น ฝูงไฮยีนาที่ปล้นอาหารจากการล่าของสิงโต
“อุทยานธรณีสตูล” (Satun Geopark) ได้รับการประกาศ ให้เป็น “อุทยานธรณีโลก” (UNESCO Global Geopark) ในปี พ.ศ. 2561 เป็นอุทยานธรณีโลกแห่งแรกของประเทศไทย และเป็นแห่งที่ 5 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อุทยานธรณีสตูลมีพื้นที่ 2,597 ตร.กม.
แมลงตัวห้ำ (Insect Predators) คือ แมลงชนิดที่จับแมลงอื่นกินเป็นอาหาร แมลงที่ถูกแมลงตัวห้ำกินจะเรียกว่า เหยื่อ (prey) โดยการกินเหยื่อของแมลงตัวห้ำนั้นจะมีพฤติกรรมการจับแล้วใช้ปากกัดกินเหยื่อโดยตรง หรือแมลงบางชนิดใช้ปากแบบเฉพาะดูดกินของเหลวในตัวเหยื่อจนหมดทั้งตัว และต้องกินเหยื่อหลายตัวเพื่อการดำรงชีวิตจนครบวงจรชีวิต แมลงตัวห้ำบางชนิดมีพฤติกรรมเป็นตัวห้ำได้ทั้งในระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย เช่น แมลงปอ (dragonfly and damselfly) ตั๊กแตนตำข้าว (Mantis) ด้วงเต่าลายตัวห้ำ (ladybird beetle) เป็นต้น บางชนิดมีพฤติกรรมการเป็นตัวห้ำเฉพาะบางช่วงอายุเท่านั้น เช่น แมลงช้างปีกใส (lacewing) แม
เนื่องในวันที่ 16 กรกฎาคม ของทุกปี เป็นวันงูโลก วันนี้ Nat.ชัย ผู้เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ของ อพวช. จะพาทุกคนมารู้จักกับงู สามัญประจำบ้านอย่าง งูเขียวพระอินทร์
การแสดงที่คุณจะได้เป็นส่วนหนึ่งในเรื่องราวอลวน
: 50 ปีที่ผ่านมาเราได้เริ่มทำอะไรให้สิ่งแวดล้อมบนโลกใบนี้แล้วหรือยัง ?
Sexual dimorphism หมายถึง ภาวะที่สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีลักษณะที่แตกต่างกันทั้งสี รูปร่าง ขนาด และโครงสร้างบางประการ เช่น นกปักษาสวรรค์ (Bird of paradise) เพศผู้มีสีสันฉูดฉาดเพื่อดึงดูดเพศเมีย ลิงบาบูนเพศผู้ตัวโตกว่าเพศเมียประมาณ 2 เท่า และมีเขี้ยวขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย ซึ่งจูงใจให้เพศเมียเลือกเป็นคู่ครอง ปลาตกเบ็ด (Angler fish) เพศผู้มีขนาดเล็กกว่าเพศเมียประมาณ 40 เท่า และไม่มีติ่งเนื้อบนหัว ดำรงชีวิตเป็นปรสิตถาวรของเพศเมีย ครีบหลังของปลา Paracentropogon rubripinnis เพศผู้ยาวกว่าปลาเพศเมีย
วันผึ้งโลก (World Bee Day) ถูกจัดขึ้นทั่วโลกในวันที่ 20 พฤษภาคมของทุกปี โดยแต่ละประเทศจะจัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับความสำคัญของผึ้งและการเลี้ยงผึ้ง
เมนูจากกุ้งสุดแสนอร่อยนั้น ไม่ว่าจะเป็นกุ้งเผา กุ้งแช่น้ำปลา ต้มยำกุ้ง กุ้งซาซิมิ นั้น คงเป็นเมนูสุดโปรดของใครหลายๆคน แต่เคยสงสัยกันไหมเจ้าสัตว์น้ำขาข้อตัวงอ มีก้าม มีหนวดยาวๆ ที่เราเรียกกันกุ้งๆ นั้น ฝรั่งเขาเรียกกันทั้ง Shrimp, Prawn และ Lobster...เอ๊ะ!!! แล้วตกลงกุ้งที่เรากินคือ Prawn Shrimp หรือ Lobster กันแน่
ทุกๆวันที่ 22 เมษายนของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็นวันคุ้มครองโลก เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงการรักษาดูแลโลกและใช้ทรัพยากรต่างๆบนโลกให้เกิดความยั่งยืน วันนี้เลยจะขอแนะนำวิธีการโอบกอดดูแลโลกของเราแบบง่ายๆ ที่เริ่มต้นได้จากตัวเราและครอบครัวกันค่ะ
“บิด ชิมครีม จุ่มนม” วลีติดหูที่ใครได้ยินก็ต้องนึกถึงขนมคุกกี้โอรีโอ (OREO) แสนอร่อย แต่สำหรับปลิงทะเลนั้นไม่ได้บิดเพื่อจะนำมาทานแต่อย่างใด แต่บิดตัวให้ขาดเป็นสองท่อนเพื่องอกใหม่ เป็นการเพิ่มจำนวนของปลิงทะเลในอันดับ Aspidochorotida และปลิงทะเลอันดับ Dendrochirotida
ปลิงทะเลชมพู (sea cucumber) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังไฟลัมเอคไคโนเดอร์มาตา (Phylum Echinodermata) มีรูปร่างทรงกระบอกยาวในแนวนอน ลำตัวอ่อนนุ่มสีชมพู ส่วนหัวมีหนวดแบบจาน จำนวน 20 เส้น อยู่รอบรอบปากและด้านท้ายเป็นทวารหนัก
“Conglobation” เป็นพฤติกรรมการขดม้วนตัวที่พบได้ในสัตว์จำพวกกิ้งกือกระสุน (millipedes), ตัวกะปิ (pill bugs), ตัวนิ่ม (armadillos) และเม่น (hedgehogs) บางชนิด เป็นพฤติกรรมที่ใช้ช่วยป้องกันตัวจากอันตรายต่างๆ เนื่องจากรยางค์ต่างๆ เช่น ขาจะถูกม้วนเก็บเข้าหาส่วนกลางตัว และปกป้องด้วยแผ่นแข็ง (tergites) บริเวณลำตัว หรือหนาม (spines) ที่อยู่บนตัวนั่นเอง แต่สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ก็ต้องมีกล้อมเนื้อที่แข็งแรงเพื่อรักษาท่าทางการขดม้วนตัวนี้ไว้
มื่อวันที่ 29 มีนาคม ที่ผ่านมา เกิดไฟไหม้ที่เขาแหลม-เขาชะพลู จ. นครนายก ไฟไหม้ลุกลามจนทำให้ภูเขากลายเป็นทะเลเพลิง วันนี้เราอยากชี้ชวนให้ไปรู้จักกับไฟไหม้ป่า และผลกระทบที่ตามมาให้มากขึ้น จะได้ช่วยกันสอดส่องดูแลและป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ป่าที่รุนแรงซ้ำอีก
เนื่องในวันที่ 21 มีนาคมของทุกปี สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้กำหนดให้วันนี้เป็นวัน “ป่าไม้โลก” ในปีนี้จึงเชิญชวนผู้อ่านมาดูห้าประโยชน์ที่ป่าไม้ที่ช่วยส่งเสริมให้คุณภาพชีวิตของเราดีขึ้น
แมลงวันแมงมุมเป็นชื่อที่เราแทบจะไม่คุ้นหูกันเลย แต่มั่นใจว่าหลาย ๆ คนน่าจะเคยเข้าใจผิดว่าแมลงตัวนี้คือยุงยักษ์ หรือแมงมุม หรือแมลงวันอย่างแน่นอน
ครั้งนี้เรามากับคำถามที่หลายๆ คน สงสัยมานานว่า ดวงตาที่อยู่ในสัตว์สตัฟฟ์ เป็นของจริงหรือของปลอมกันแน่
PM10 (Particulate matter-10 micron) คือ ฝุ่นหยาบ ที่มีอนุภาคเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5–10ไมครอน (ตามคำจำกัดความของ US.EPA (United State Environmental Protection Agency))
PM10 (Particulate matter-10 micron) คือ ฝุ่นหยาบ ที่มีอนุภาคเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5–10ไมครอน (ตามคำจำกัดความของ US.EPA (United State Environmental Protection Agency))
เมื่อเช้าวันจันทร์ที่ผ่านมา มีเหตุการณ์ภัยพิบัติที่สร้างความเสียหาย กลายเป็นโศกนาฏกรรมใหญ่ และสร้างความตื่นตกใจให้กับคนทั้งโลก นั่นคือแผ่นดินไหวตุรกี-ซีเรีย แผ่นดินไหวขนาด 7.8 แมกนิจูด ที่พรมแดนตุรกี-ซีเรีย ส่งผลให้มีความเสียหายและผู้เสียชีวิตจำนวนมาก นับว่าเป็นหนึ่งภัยพิบัติรุนแรงที่เคยเกิดขึ้นในยุคสมัยนี้
มดบากนพรัตน์ (Lepisiota thepthepae Jarernkong et Jaitrong, 2022) เป็นมดชนิดใหม่ของโลกที่ถูกค้นพบและรายงานอย่างเป็นทางการเมื่อปีใหม่ที่ผ่านมานี้ ได้รับการตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ ดร.นพรัตน์ เทพเทพา ผู้อำนวยการสำนักวิชาการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
เชิญชวนเพื่อนชาว TikToker ร่วมสนุกในกิจกรรม A DAY @ NSM ถ่ายคลิปที่พิพิธภัณฑ์ ในหัวข้อ "ดินแดนแห่งการค้นพบความมหัศจรรย์ของวิทยาศาสตร์"
(English please scroll down) อพวช. ขอเชิญนักวิจัย นักวิชาการ อาจารย์ นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจ ด้านธรรมชาติวิทยา ผู้จัดการองค์ความรู้ด้านธรรมชาติวิทยา และงานพิพิธภัณฑ์ ส่งบทความและบทคัดย่อสำหรับพิจารณาคัดเลือกและนำเสนอในงาน
สัมมนาวิชาการนานาชาติ “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาครั้งที่ 3: ความยั่งยืนทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและความรับผิดชอบต่อสังคม (The 3rd International Symposium on Natural Science: Natural Resource Stability and People’s Responsibility for Society)
Day Camp รับสมัครแล้ว
ค่ายวิทยาศาสตร์ 1 วัน สำหรับเด็ก
เดือน พฤษภาคม 2565 จัดเต็ม 3 ค่าย
Onsite ณ อพวช. คลองห้า ปทุมธานี
23 ตุลาคม 2567 / ดร.กรรณิการ์ เฉิน รองผู้อำนวยการองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) หรือ NSM ร่วมเปิดงาน "Plan For Kids Festival: โตขึ้นหนูอยากเป็น..." เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนที่หลากหลาย ผ่านฐานกิจกรรมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ทั้งนี้ NSM ได้ร่วมนำนิทรรศการเคลื่อนที่และกิจกรรมสนุกสนานด้านวิทยาศาสตร์ไปจัดแสดงภายในงานมากมาย อาทิ นิทรรศการ Plearn Science Exhibition ชุด Plearn Science Explorer วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อส่งเสริมทักษะและพัฒนาการอย่างสร้างสรรค์ และกิจกรรม Imaginarium BLUE BOX สนามเด็กเล่นแห่งจินตนาการดึงดูดเยาวชนให้สนุกสนานสร้างสรรค์ฝึกฝนจินตนาการโดยงานฯ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23 - 27 ตุลาคม 2567 เวลา 10.00 - 21.00 น. ณ เวสต์เกตฮอลล์ ชั้น 4 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวสต์เกต
7 กุมภาพันธ์ 2565 / ดร.พีรนุช กัณหดิลก ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์แห่งชาติ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) รับ Certificate Social Action Award Short-listed Alumni ถือเป็นรางวัลที่มอบให้สำหรับศิษย์เก่าที่มีส่วนร่วมและมุ่งมั่นที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในเชิงบวกและพัฒนาชีวิตของผู้อื่น โดยมี คุณ Mark Gooding, British Ambassador to Thailand และคุณ Helga Stellmacher Director of British Council Thailand เป็นผู้มอบรางวัลฯ ดังกล่าว ในงาน Study UK Alumni Awards Thailand 2023 จัดโดย บริติช เคานซิล ประเทศไทย ร่วมกับ สถานทูตอังกฤษ ณ British Club Bangkok