จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชนศูนย์ภาคกลาง ประจำปี 2564

จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชนศูนย์ภาคกลาง ประจำปี 2564

13-12-2021
จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชนศูนย์ภาคกลาง ประจำปี 2564

องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชนศูนย์ภาคกลาง ประจำปี 2564 ขึ้น เพื่อคัดเลือกตัวแทนของภาคกลางเข้าร่วมในการแข่งขันระดับประเทศต่อไป โดยมีการจัด “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมนักวิทยาศาสตร์น้อย ระดับประถมศึกษา” ซึ่งถือเป็นกิจกรรมที่สนับสนุน ส่งเสริม และกระตุ้นให้เยาวชนระดับประถมศึกษา ได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริงโดยนำความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปประยุกต์ให้เกิดเป็นสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม อันสามารถช่วยแก้ปัญหาหรืออำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตประจำวัน และเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นไปที่จะนำไปสู่การพัฒนากำลังคนของประเทศในอนาคต โดยได้ทำการจัดการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ เมื่อวันที่ 22 – 23 กันยายน 64 ในรูปแบบออนไลน์ โดยมีเยาวชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมรอบชิงชนะเลิศ จำนวน 45 คน โครงงาน 16 ผลงานจาก 11 โรงเรียน


โดยผลการแข่งขัน “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมนักวิทยาศาสตร์น้อย ระดับประถมศึกษา” ในรอบชิงชนะเลิศมี ดังนี้


รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ทุนการศึกษา 4,000 บาท พร้อมประกาศเกียรติคุณ ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลสามเสนฯ ชื่อผลงาน “Smart stick 2 in 1” 

สมาชิกในทีม ได้แก่
เด็กชายอินทัช วิสูญ (นักเรียน)
เด็กชายกวินพงศ์ เผ่าพันธ์ (นักเรียน)
เด็กหญิงมนรดา สายเนียม (นักเรียน)
นางสาวนงเยาว์ ขันคำ (ครูที่ปรึกษา)

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมประกาศเกียรติคุณ ได้แก่ โรงเรียนราชินี ชื่อผลงาน “กล่องฆ่าเชื้ออเนกประสงค์”
สมาชิกในทีม ได้แก่
เด็กหญิงกัญสพัฒน์ เฉลิมพงศ์ภากร (นักเรียน)
เด็กหญิงจิรัชญา รอดทิม (นักเรียน)
เด็กหญิงชัญญา ศรีประเสริฐ (นักเรียน)
นางนันทิยา เทียนวรรณ (ครูที่ปรึกษา)

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ทุนการศึกษา 2,000 บาท พร้อมประกาศเกียรติคุณ ได้แก่ โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม ชื่อผลงาน “ราวตากผ้าอัจฉริยะ”
สมาชิกในทีม ได้แก่
เด็กชายธรรมปพน สุขสุธรรมวงศ์ (นักเรียน)
เด็กชายภาคิน จตุรพลกุล (นักเรียน)
เด็กชายภรัณยู เมตตานันท์ (นักเรียน)
นางบุญตา สหวงศ์เจริญ (ครูที่ปรึกษา)

รางวัลชมเชย ได้รับของที่ระลึก พร้อมประกาศเกียรติคุณ ได้แก่
โรงเรียนอนุบาลบ้านพลอยภูมิ ชื่อผลงาน “Grandfather super cleaning bot”
สมาชิกในทีม ได้แก่
เด็กชายปริญญ์ บุญทนันท์ (นักเรียน)
เด็กชายรัฐนันท์ ญาณพิสุทธิรัตน์ (นักเรียน)
เด็กชายชิษนุ ซื่อตรงสุวรรณ (นักเรียน)
นายบุญญฤทธิ์ เลิศพาชิน (ครูที่ปรึกษา)

รางวัลชมเชย ได้รับของที่ระลึก พร้อมประกาศเกียรติคุณ ได้แก่
โรงเรียนวัดป่าเกด ชื่อผลงาน “เครื่องร่อนมูลไส้เดือนอัตโนมัติ”
สมาชิกในทีม ได้แก่
เด็กชายกษิดิ์เดช ดีสม (นักเรียน)
เด็กชายวีรพัฒน์ ศิริประสาท (นักเรียน)
เด็กชายวัชรภัทร์ เส็งกิ่ง (นักเรียน)
นางกุสุมา แก้วนุ่ม (ครูที่ปรึกษา)

และอีกหนึ่งกิจกรรมการแข่งขัน คือ “การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา” เป็นกิจกรรมที่สนับสนุน ส่งเสริม และกระตุ้นให้เยาวชนได้ฝึกการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้เป็นอย่างดี สมาคมวิทย์ฯ จึงจัดให้มีการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมเยาวชนให้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาและใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิต โดยมีการจัดแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ไปเมื่อวันที่ 22 – 23 กันยายน 64 ผ่านการแข่งขันรูปแบบออนไลน์ โดยมีเยาวชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมรอบชิงชนะเลิศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 40 ผลงาน (สาขากายภาพ 14 ผลงาน, สาขาชีวภาพ 7 ผลงาน, สาขาประยุกต์ 19 ผลงาน) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 52 ผลงาน (สาขากายภาพ 17 ผลงาน, สาขาชีวภาพ 16 ผลงาน, สาขาประยุกต์ 19 ผลงาน)


โดยผลการแข่งขัน “การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา” ในรอบชิงชนะเลิศมี ดังนี้
1. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สาขากายภาพ
1.1) รางวัลเหรียญทอง 2 รางวัล ได้แก่
- โครงงานเรื่อง “การเปรียบเทียบค่าความแข็งต่อแรงกดและค่าการดูดความชื้นของอิฐมวลเบาที่ทำจากโพลิโพรไพลีน และโพลิเอทธิลีนในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-PH01)
เด็กชายปธานิน ประจำแท่น (นักเรียน)
เด็กหญิงธนาภรณ์ พิทักษา (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “การเปรียบเทียบอัตราส่วนการผสมระหว่างดินเบาและซิลิกาจากแกลบเพื่อพัฒนาเป็นเม็ดดูดซับ ความชื้นสำหรับใช้ในห้องน้ำ”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-PH04)
เด็กชายศิโรตม์ อินทศร (นักเรียน)
เด็กชายธนเดช ไชยสงคราม (นักเรียน)
เด็กชายเกศศักดิ์ ตีระวรานันท์ (นักเรียน)

1.2) รางวัลเหรียญเงิน 3 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาอัตราส่วนของแป้งข้าวเหนียวขาวและแป้งข้าวเหนียวดำที่เหมาะสมต่อการทำขนมโมจิ”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-PH06)
เด็กหญิงณิชนันทน์ หาญกล้า (นักเรียน)
เด็กหญิงนภัส พิทักษ์ดวงกมล (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “องศาของใบพัดที่มีผลต่ออัตราหมุนของกังหันลม”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-PH08)
เด็กชายกันตินันท์ ไหลประเสริฐ (นักเรียน)
เด็กชายกิตติธัช วงษ์สุวรรรัตน์ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาและเปรียบเทียบคุณสมบัติทางกายภาพ และการเจริญเติบโตของพืชในกระถางต้นไม้จากเปลือกไข่ ไก่กากกาแฟ แกลบดำ และใบก้ามปูในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-PH13)
เด็กชายปิยะกร ทองมีแสง (นักเรียน)
เด็กชายคณธัช เกียรติสูงส่ง (นักเรียน)
เด็กชายกรณ์นภพล โหรวิชิต (นักเรียน)

1.3) รางวัลเหรียญทองแดง 2 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการดูดซับนน้ำมันของกระดาษสา ผสมกากกาแฟ และกระดาษสาผสมผงถ่าน”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-PH10)
เด็กชายกวีการ เคนหล้า (นักเรียน)
เด็กชายนวดล ทศไธสง (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาผลการใช้ปลายข้าว 4 ชนิด ซึ่งส่งผลต่อคุณสมบัติทาง เคมีของการดองผักกาดเขียวปลีดอง”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-PH12)
เด็กหญิงทอแสง แสงอรุณ (นักเรียน)
เด็กชายยศกร เกิดผล (นักเรียน)

1.4) รางวัลชมเชย 1 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การเปรียบเทียบปริมาณใยอาหารและความพึงพอใจของผู้บริโภค ในผลิตภัณฑ์ขนมปังที่ผสมเม็ดแมงลักกับเมล็ดเจีย”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-PH03)
เด็กหญิงพิชชาภา พันธ์ุขาว (นักเรียน)
เด็กหญิงวรวลัญช์ แก้วดำรงค์ (นักเรียน)

2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สาขาชีวภาพ
2.1) รางวัลเหรียญทอง 2 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การเปรียบเทียบสารสกัดชีวภาพที่มีผลต่อการเจริญของผักกาดหอมพันธุ์ Green Oak ที่ปลูกในระบบไฮโดรโปรนิกส์”
โรงเรียนสตรีวิทยา (รหัสทีม A-BI03)
นางสาวปวรรณ จักรแก้ว (นักเรียน)
เด็กหญิงญาณภัค แจ้งเจนศิลป์ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์เยลลี่ถั่วเขียวต้มปราศจากน้ำตาล”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-BI05)
เด็กชายคณินท์ ขำอิ่ม (นักเรียน)

2.2) รางวัลเหรียญเงิน
- ไม่มีผู้ได้รับรางวัล –
2.3) รางวัลเหรียญทองแดง 1 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การเปรียบเทียบผลของปุ๋ยเคมีและปุ๋ยเคมีละลายช้าต่อสมบัติทางเคมีของดินสำหรับพริกขี้หนูวงศ์ SOLANACEAE”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-BI02)
เด็กชายวรภพ วัฒนมะโน (นักเรียน)
เด็กชายปรียาธร ขุนหอม (นักเรียน)

2.4) รางวัลชมเชย 1 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์กระถางเพาะชำย่อยสลายได้สำหรับเพาะกล้ามะเขือเทศจาก
ขี้เลื่อยไม้ยางพาราร่วมกับขี้เถ้าแกลบโดยใช้พลาสติก PLA เป็นวัสดุเชื่อมประสาน”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-BI04)
เด็กหญิงชวิศา ปฏิทัศน์ (นักเรียน)
เด็กหญิงศุภกฤต ซังขาว (นักเรียน)
เด็กหญิงธนรัชต์ ลี้เกรียงไกร (นักเรียน)

3. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สาขาประยุกต์
3.1) รางวัลเหรียญทอง 2 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง "การพัฒนาฉนวนความร้อนจากเส้นใยกาบหมากผสมกับซิลิกาจากเถ้าลอยแกลบโดยมีน้ำยางพาราเป็นตัวเชื่อมประสาน"
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-AP05)
เด็กชายณัชพล นิมิตนนท์ (นักเรียน)
เด็กชายมัทธิว เหมะ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง "อุปกรณ์แจ้งเตือนและขอความช่วยเหลือหลังการเกิดอุบัติเหตุด้วยรถจักรยานยนต์"
โรงเรียนพรตพิทยพยัต (รหัสทีม A-AP19)
นายได ฮอนด้า (นักเรียน)
นางสาวเรณุมาศ มาสมจิตต์ (นักเรียน)
เด็กหญิงวิมลรัตน์ เลี่ยวศิริชัย (นักเรียน)

3.2) รางวัลเหรียญเงิน 3 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง "กล่องยาแจ้งเตือนเวลาบอกสถานที่ วัดอุณหภูมิ และความชื้นผ่านแอปพลิเคชัน"
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-AP11)
เด็กหญิงญาณิสา เอี่ยมดีเลิศ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง "การเปรียบเทียบประสิทธิ์ภาพการดูดซับของเปลือกไข่ไก่ และเปลือกไข่ไก่เผาร่วมกับดินเบนโทไนท์เพื่อประยุกต์ใช้เป็นวัสดุดูดซับสารฟอสเฟตในแหล่งน้ำ
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-AP03)
เด็กชายณัฐชัย ศรีตะสังข์ (นักเรียน)
เด็กชายธีรวัฒน์ พรรณพัฒนกุล (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง "เครื่องวัดความหนาแน่นของของเหลวโดยอาศัยหลักการของแรงลอยตัว"
โรงเรียนสตรีวิทยา (รหัสทีม A-AP18)
เด็กหญิงทิพย์วรินทร หลวงพิทักษ์ (นักเรียน)
เด็กหญิงชุติรดา คางคำ (นักเรียน)

3.3) รางวัลเหรียญทองแดง 4 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง "การทดแทนแป้งสาลีด้วยข้าวหอมมะลิแดงในแพนเค้ก"
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-AP01)
เด็กหญิงธันยพรรษ์ ชัยธนรัชต์ (นักเรียน)
เด็กหญิงมณิสรา สิงห์นันท์ (นักเรียน)
เด็กชายสรัล สายสนิท (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง "การสร้างแอพพลิเคชั่นและศึกษาประสิทธิภาพการวิเคราะห์ URL เพื่อลดปริมาณการเข้าถึงเว็บไซต์ที่อันตรายแก่ผู้ใช้"
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-AP08)
เด็กชายคุณากร ไชยรา (นักเรียน)
เด็กชายชยุตพงศ์ ศันสนียเกียรติ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง "น้ำหมึกปากกาไวข์บอร์ดธรรมชาติจากกะหล่ำวง มะเขือม่วง เปลือกแก้วมังกร
และใบคะน้า"
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-AP09)
เด็กหญิงปพิกัลป์ พิชญะโชติวงศ์ (นักเรียน)
เด็กหญิงปัญภัสสร แตงเกตุ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง "การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของถ่านอัดแท่ง จากผลแห้งของต้นตีนเป็ด กะลามะพร้าว และซังข้าวโพด"
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-AP12)
เด็กหญิงพิริยาภรณ์ งามธรรมศิริ (นักเรียน)
เด็กหญิงพชรพร วงษ์ปักษา (นักเรียน)

3.4) รางวัลชมเชย 2 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง "เครื่องดูดน้ำผึ้ง (ชันโรง)"
โรงเรียนเทพศิรินทร์ (รหัสทีม A-AP16)
เด็กชายกิตติศักดิ์ สีเมฆ (นักเรียน)
เด็กชายภูริทัต สุขมาลี (นักเรียน)
เด็กชายจารกิตติ์ นิ่มวงษ์ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง "เครื่องตรวจสอบเพื่อป้องกันภาวะกระดูกสันหลังคดจากท่าทางที่ผิด"
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม A-AP17)
เด็กหญิงสิตานัน สุขวณิชไพบูลย์ (นักเรียน)
เด็กหญิงสาริศา บุตรดี (นักเรียน)

4. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขากายภาพ
4.1) รางวัลเหรียญทอง 3 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาและพัฒนาการต้านรังสียูวี (UPF) ของเส้นใยใบสับปะรดด้วยสารสกัดจากใบหูกวางเพื่อประยุกต์เป็นเส้นผมเทียมจากธรรมชาติสำหรับทำวิกผม”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-PH09)
นางสาวจิติมา แดงดี (นักเรียน)
นางสาวปุณญิสา สังสะนา (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่การกระจายตัวของเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides บนเปลือกที่ส่งผลต่อเนื้อเสียของมะม่วงน้ำดอกไม้”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี (รหัสทีม B-PH11)
นางสาวภัณฑิรา บุญก่อเกื้อ (นักเรียน)
นางสาวโกลัญญา โล่ประดิษฐ์ (นักเรียน)
นางสาวธัญชนก เนื้อนิล (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “สมการพยากรณ์ราคาหุ้นยางพาราของบริษัทศรีตรังแอโกรอินดัสทรีจำกัด (มหาชน)”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี (รหัสทีม B-PH16)
นาย ธีร์ธวัช ภู่ระหงษ์ (นักเรียน)
นางสาวพรชิตา อ่ำกลัด (นักเรียน)
นายประกาศิต มากมี (นักเรียน)

4.2) รางวัลเหรียญเงิน 3 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาประสิทธิภาพของแผ่นดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากยางธรรมชาติผสมถ่านกัมมันต์จากไม้ไผ่”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-PH08)
นางสาวเพ็ญกวิณส์ ธนวิเชียร (นักเรียน)
นางสาวณัชชา รุ่งเรือง (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “บรรจุภัณฑ์กันกระแทกเครื่องปั้นดินเผาจากผักตบชวาผสมยางธรรมชาติ”
โรงเรียนโรงเรียนปากเกร็ด (รหัสทีม B-PH13)
นางสาวจันธิมา วงษ์กิ่งแก้ว (นักเรียน)
นางสาวพนิดา วิสิษฐยุทธศาสตร์ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “โลคัสของจุดคงที่บนเส้นรอบวงของวงกลมที่ n จากการเคลื่อนที่ของจุดศูนย์กลางวงกลมรัศมีใด ๆ บนเส้นรอบวงนอกสุดของชุดวงกลมก่อนหน้า”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี (รหัสทีม B-PH15)
นายอนุชิต พุ่มพวง (นักเรียน)
นายเตโชดม เพชรเรือง (นักเรียน)
นายเตชัส สังข์สะอาด (นักเรียน)

4.3) รางวัลเหรียญทองแดง 2 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การพัฒนาส่วนผสมธูปโดยใช้แคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกไข่เพื่อลดปริมาณสารก่อมะเร็งในควันธูป”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-PH05)
นางสาวปุณยวีร์ รอบคอบ (นักเรียน)
นางสาวสินิทธา สุทธิชนโสภากุล (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “หลอดพลาสติกชีวภาพจากเปลือกหน่อกะลา”
โรงเรียนโรงเรียนปากเกร็ด (รหัสทีม B-PH17)
นายภูวนัตถ์ หอมผกา (นักเรียน)
นางสาวฌาณิศา สนเล็ก (นักเรียน)
นางสาวมณีรัตน์ อรัญญิก (นักเรียน)

4.4) รางวัลชมเชย 1 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์วิปปิ้งครีมไขมันต่ำโดยการเสริมคาร์โบไฮเดรตจากแป้ง
มันสำปะหลัง”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-PH04)
นางสาวปัญฑิตา พงษ์พิทักษ์ (นักเรียน)
นางสาวฟาริดา มะรุมดี (นักเรียน)

5. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาชีวภาพ
5.1) รางวัลเหรียญทอง 3 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การปนเปื้อนไมโครพลาสติกบริเวณเกาะทะลุอ่าวไทยตอนบน”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี (รหัสทีม B-BI01)
นายพงศกร อ่อนพรม (นักเรียน)
นายกนกพล แก้วน้อย (นักเรียน)
นายนววิธ จันทราภรณ์ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “การเพิ่มศักยภาพในการเลี้ยงจิ้งหรีดด้วยแสงสีเพื่อลดอัตราการตายจากพฤติกรรมการสลัดขาทิ้ง”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-BI03)
นางสาวจรัสณัฐ วงษ์กำปั่น (นักเรียน)
นางสาวมาริสา อรรจนานนท์ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาประสิทธิภาพการใช้เชื้อรา Aschersonia placenta ในการกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบที่เป็นปรปักษ์ต่อต้นฝ้าย”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรี (รหัสทีม B-BI04)
นางสาวนันท์นภัส วงษ์แหยม (นักเรียน)
นางสาววศินี นนทภักดี (นักเรียน)
นางสาวกุสุมา แก้วแดงดี (นักเรียน)

5.2) รางวัลเหรียญเงิน 3 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาสูตรอาหารที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของด้วงสาคู”
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (รหัสทีม B-BI11)
นางสาวเปมิกา ลีไตรรงค์ (นักเรียน)
นางสาวณฐพร ฐิตินันท์ (นักเรียน)
นายพลวิชญ์ ธีรพันธุวัฒน์ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างคาร์โบพอลและเพกตินจากธรรมชาติในการสร้างเนื้อเจลสำหรับเจลล้างมือแอลกอฮอล์”
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (รหัสทีม B-BI12)
นางสาวมณสิชา ตั้งศิริภิญโญ (นักเรียน)
นางสาวบุญยานุช หิรัญธเนศ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “ฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์โปรติเอส COVID-19 ของสารสกัดพืชผักในท้องถิ่น”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรี (รหัสทีม B-BI16)
นางสาวอริศศิรา เจริญฉิม (นักเรียน)
นางสาวฐาปนี ทวีลัย (นักเรียน)
นางสาวพิจิตรา พจีเพชร (นักเรียน)

5.3) รางวัลเหรียญทองแดง 3 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาประสิทธิภาพเซรั่มจากสารสกัดหยาบว่านตาลเดี่ยวที่ผ่านกระบวนการนาโนเอนแคปซูเลชั่น”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-BI06)
นายฐิติชัย พรสุริยะศักดิ์ (นักเรียน)
นายสุรพัศ เจริญกิจเสรีวงศ์ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “ถังแยกไขมันระบบกาลักน้ำแบบเบ็ดเสร็จ”
โรงเรียนเทพศิรินทร์ (รหัสทีม B-BI13)
นายภัทรเดช เตชะรุจิรา (นักเรียน)
นายพาทิศ มังกรพิศม์ (นักเรียน)
นายวรัศม์ ศรีอินทรสุทธิ์ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “พลาสติกชีวภาพจากเปลือกกล้วยและมันสำปะหลัง”
โรงเรียนปทุมวิไลวิทยาคม (เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ปทุมธานี) (รหัสทีม B-BI15)
นายเอกภพ เติมกระโทก (นักเรียน)
นางสาวรัตน์มณี วงศ์พิพิธ (นักเรียน)
นางสาวบงกช จันทร์หอม (นักเรียน)

5.4) รางวัลชมเชย 1 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากสะระแหน่ ต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae ที่ก่อโรคขอบใบแห้งในข้าว”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-BI02)
นางสาวลีลาวดี ตรีเทพวิจิตร (นักเรียน)
นายธนภัทร ลี้สุวรรณกุล (นักเรียน)

6. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาประยุกต์
6.1) รางวัลเหรียญทอง 3 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาประสิทธิภาพวัสดุคอมโพสิตถุงตาข่ายบรรจุผลไม้จากเส้นใยธรรมชาติ”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-AP06)
นายชยพัทธ์ บรรเทิงสุข (นักเรียน)
นายศิวานนท์ ไตรรัตนะ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “การศึกษารูปแบบโครงสร้างของฟองน้ำทะเลเพื่อเป็นต้นแบบของวัสดุยางฟองน้ำที่เสริมประสิทธิภาพดว้ยถ่านกัมมันต์ในการดูดซับแอมโมเนียจากแหล่งเลี้ยงปลาในครัวเรือน”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-AP07)
นายสิรวิชญ์ บุญปริตร (นักเรียน)
นางสาวรินรดา อุดมเดชวัฒน (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างสัมประสิทธิ์แรงต้านจากคลื่นน้ำของท้องเรือ Pentamaran
ที่จัดเรียงตำแหน่งท้องเรือจากสมการพาราโบลา สมการวงรีและสมการค่าสัมบูรณ์กับสัมประสิทธิ์ในสมการด้วย cubic spline interpolation”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี (รหัสทีม B-AP11)
นายพีร์นิธิ วิษณุวนิชนันท์ (นักเรียน)
นายภัทรพล เชียงเจริญ (นักเรียน)
นายธนวัฒน์ นาโพธิ์ (นักเรียน)

6.2) รางวัลเหรียญเงิน 3 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันและสมการพหุนามระหว่างความกว้างและความยาวของกระดองปูดำ”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี (รหัสทีม B-AP09)
นางสาวศรัญญา บูรณะมณฑล (นักเรียน)
นายตะวัน ขำสุข (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “ผลิตภัณฑ์แยมกระเทียมดำที่มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและสารต้านอนุมูลอิสระสูงสำหรับกลุ่มผู้รักสุขภาพ”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี (รหัสทีม B-AP16)
นางสาวปุณยาพร สุดวิเวก (นักเรียน)
นางสาวกรชนก เพิ่มสิน (นักเรียน)
นางสาวอิสริยา สายตรง (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “อากาศยานไร้คนขับนำทางอัตโนมัติเพื่อการท่องเที่ยว”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-AP17)
นายกีรติ ยุบลมาตย์ (นักเรียน)
นายปพนพัชญ์ เต็มวิสุทธิ์กุล (นักเรียน)

6.3) รางวัลเหรียญทองแดง 2 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “อุปกรณ์ช่วยเหลือผู้บกพร่องทางสายตา”
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี (รหัสทีม B-AP18)
นายโสภณวิชญ์ เข็มเพ็ชร์ (นักเรียน)
นายกิตติพัทธ์ ตันติโสภณพงษ์ (นักเรียน)
นายทยภณ นุชบุษบา (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “ไฮโดรเจลคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจากซังข้าวโพดเสริมแร่ธาตุสำหรับปลูกต้นกล้าข้าวในช่วงหน้าแล้ง”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-AP19)
นางสาวญาณิศา ตาปนานนท์ (นักเรียน)
นางสาวอภิชญา พัฒนชัยโกศล (นักเรียน)

6.4) รางวัลชมเชย 2 รางวัล ได้แก่
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาการดูดซับของแผ่นไฮโดรเจลเพื่อพัฒนาไปใช้ปิดแผลผู้ป่วยเบาหวาน”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-AP02)
นางสาวณัฐนรี จันหย่ง (นักเรียน)
นางสาวพัทธนันท์ กิจสวัสดิ์ (นักเรียน)
-โครงงานเรื่อง “การศึกษาประสิทธิภาพของวัสดุคอมโพสิตจากพอลิเอสเตอร์เรซินแบบไม่อิ่มตัวร่วมกับเส้นใยฟางข้าวและกัญชงเพื่อพัฒนาเป็นวัสดุมุงหลังคาที่มีคุณสมบัติโปร่งแสง”
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (รหัสทีม B-AP04)
นางสาวจิณณธรรม รักจรรยาบรรณ (นักเรียน)
นางสาวลลิตภทัร ขำมั่น (นักเรียน)

Related